สถิติ
เปิดเมื่อ19/02/2014
อัพเดท6/03/2014
ผู้เข้าชม54818
แสดงหน้า63558
บทความ
ไฟฟ้าสถิต
อิเล็กโตรสโคป
ไฟฟ้าสถิต และการเกิดไฟฟ้าสถิต
ชนิดของประจุไฟฟ้า แรงกระทำที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า
การส่งผ่านประจุฟฟ้า
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้า
อิเล็กโทรสโคป (electroscope)
สนามไฟฟ้า (electric field)
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
ศักย์ไฟฟ้า
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ
การใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
ไฟฟ้ากระแส
สนามไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าในตัวนำ
กฎของโอห์ม
ความต้านทาน
สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า
ไดโอด
วงจรไฟฟ้า
การวิเคราะห์วงจร
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
การคำนวณค่าไฟฟ้า เครื่องหมายบนเครื่องใช้ไฟฟ้าและ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




การส่งผ่านประจุฟฟ้า

6/03/2014 16:11 เมื่อ 6/03/2014 อ่าน 413 | ตอบ 0
การส่งผ่านประจุฟฟ้า

                       หากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัสผลลัพธ์ที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่ง

ติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผมโป่ง


อิเล็กตรอนในไฟฟ้าสถิตทำให้เกิดประจุ ไฟฟ้าหยุดนิ่งตัวอย่างเช่น เมื่อถูลูกโป่งเข้ากับเส้นผมอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่บนเส้นผมจะเปลี่ยนมาอยู่บนลูกโป่งแทน และทำให้

วัตถุที่เสียอิเล็กตรอน (เส้นผมของเรา) กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่ประจุบวกรับอิเล็กตรอน (ลูกโป่ง) กลายเป็นประจุลบ และดึงดูดกับประจุบวกที่อยู่บนฝาผนังทำให้ลูกโป่งติด

ค้างอยู่ได้ ลักษณะเช่นเดียวกันนี้เกิดขึ้น เมื่อเราเดินผ่านพรมแล้วมาสัมผัสกับลูกบิดโลหะ อิเล็กตรอนที่เกาะกันอย่างหลวมๆ บนพรมจะกระโดดมาอยู่ที่ตัวของเราทำให้เกิดเป็นขั้ว

ของไฟฟ้า แต่เราจะไม่ทราบจนกระทั่งได้สัมผัสกับลูกบิดประตูโลหะ เพราะ ประจุลบจากตัวเราจะวิ่งผ่านมือไปยังลูกบิด ทำให้เรารู้สึกเหมือนโดยไฟฟ้าช็อตที่เกิดขึ้นด้วย

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :