สถิติ
เปิดเมื่อ19/02/2014
อัพเดท6/03/2014
ผู้เข้าชม54832
แสดงหน้า63572
บทความ
ไฟฟ้าสถิต
อิเล็กโตรสโคป
ไฟฟ้าสถิต และการเกิดไฟฟ้าสถิต
ชนิดของประจุไฟฟ้า แรงกระทำที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า
การส่งผ่านประจุฟฟ้า
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้า
อิเล็กโทรสโคป (electroscope)
สนามไฟฟ้า (electric field)
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
ศักย์ไฟฟ้า
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ
การใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
ไฟฟ้ากระแส
สนามไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าในตัวนำ
กฎของโอห์ม
ความต้านทาน
สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า
ไดโอด
วงจรไฟฟ้า
การวิเคราะห์วงจร
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
การคำนวณค่าไฟฟ้า เครื่องหมายบนเครื่องใช้ไฟฟ้าและ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




วงจรไฟฟ้าในบ้าน

6/03/2014 16:11 เมื่อ 6/03/2014 อ่าน 4017 | ตอบ 1
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
 วงจรไฟฟ้าในบ้าน  ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ  มีความต่างศักย์ไฟฟ้าเฉลี่ย  220  วลต์  สายไฟที่เข้ามาในบ้าน
  จะมี 
 2  สาย     ต่อจากสายหลักที่เสาไฟฟ้าผ่านมาตรกิโลวัตต์-ั่วโมง    ล้วเข้าไปในบ้าน    โดยสาย  2  ายนั้น  
  สายหนึ่งจะเป็นสายกลาง 
(N)   และอีกสายจะเป็นสายมีศักย์  (L)   สายมีศักย์จะผ่านฟิวส์     ซึ่งจะเป็นตัวป้องกัน
  อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าช็อต      หรือการใช้กระแสไฟฟ้าเกินขนาดที่ฟิวส์จะทนได้     เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
  จะต่อกันแบบขนาน  หลังจากผ่านสะพานไฟรวมไปแล้ว  ดังรูป
 

              อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน   ได้แก่   หลอดไฟ   หม้อหุงข้าว    เตารีด    พัดลม    โทรทัศน์
   เครื่องปรับอากาศ    อุปกรณ์เหล่านี้ทุกชิ้น  จะมีตัวเลข
บอกความต่างศักย์ (V)   และกำลังไฟฟ้า(P)  ที่เกิดขึ้นเป็น
   วัตต์
 (W)     แต่บางชนิดก็กำหนดค่าความต่างศักย์ (V)  
  กับกระแสที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นแอมแปร์  (A)  
   เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชิ้นควรต่อสายดิน เพื่อป้องกันไฟดูด

          แสดงตัวอย่างของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 

     สายดินทำด้วยลวดทองแดงความต้านทานต่ำมากต่อกับตัวถังของเครื่องใช้ไฟฟ้าปลายหนึ่ง   อีกปลายหนึ่งต่อกับ
แท่งโลหะยาวประมาณ  1.5  เมตร ฝังดินไว้ ดังรูป เมื่อมีไฟรั่วเข้าตัวถังของเครื่องใช้ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้าจะไม่ไหล
ผ่านตัวเราลงดิน     เพราะตัวเรามีความต้านทานสูง     กระแสไฟที่รั่วจะเลือกไหลลงดินผ่านทางสายดิน    ทำให้เรา
ปลอดภัยจากไฟฟ้าดูด

  เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น หลอดไฟฟ้า  เตารีด  พัดลม จะต่อวงจรแบบขนานทั้งสิ้น เนื่องจากต้องการให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น  ได้รับความต่างศักย์เท่ากันและเท่ากับที่กำหนดไว้ บนเครื่องใช้ไฟฟ้า จึงจะเกิดกำลังตามที่กำหนดและ
ถ้าเครื่องมือใดชำรุดเสียหาย ก็จะเสียหาย เฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องนั้น
    ไม่เกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่น


  การคำนวณหากระแสและความต้านทานของเครื่องใช้ไฟฟ้า

               ตัวเลขที่กำหนดจำนวนวัตต์กับความต่างศักย์ไฟฟ้า  หรือกำลังไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไว้บนเครื่องใช้ไฟฟ้า
  สามารถคำนวณหาค่าของกระแส (I) ที่ไหลผ่าน และความต้านทาน (R) ของเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้นได้


               จาก …
 

                                             P           =              IV

               ดังนั้น …
                                             
               แต่ต้องไม่ลืมว่า   ค่า  I   ที่คำนวณได้นี้    จะเป็นค่ากระแส   เมื่อใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าตามความต่างศักย์ที่
  กำหนดไว้เท่านั้น  เช่น   หลอดไฟฟ้า  220 V  100 W   จะมีกระแสไหลผ่าน
                                             
                                             
                                             
               ดังนั้น   หลอดไฟฟ้า  220 V  100 W   จะมีกระแสไหลผ่าน  0.45  แอมแปร์   เมื่อใช้กับความต่างศักย์ 
  220 โวลต์  ถ้าเปลี่ยนความต่างศักย์ไปเป็น  110 V  หรือ 200 V  กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะลดน้อยลง คำนวณได้จาก
  กฎของโอห์ม    แต่ต้องคำนวณหา R   ของเครื่องใช้ไฟฟ้าเสียก่อน   เพราะ R    ของเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นค่าคงที่
  ไม่เปลี่ยนแปลง   หาได้จากสูตร …
                                             
ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง

Sue
 
Sue [68.202.141.xxx] เมื่อ 13/11/2019 09:18
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :