สถิติ
เปิดเมื่อ19/02/2014
อัพเดท6/03/2014
ผู้เข้าชม54820
แสดงหน้า63560
บทความ
ไฟฟ้าสถิต
อิเล็กโตรสโคป
ไฟฟ้าสถิต และการเกิดไฟฟ้าสถิต
ชนิดของประจุไฟฟ้า แรงกระทำที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า
การส่งผ่านประจุฟฟ้า
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้า
อิเล็กโทรสโคป (electroscope)
สนามไฟฟ้า (electric field)
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
ศักย์ไฟฟ้า
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ
การใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
ไฟฟ้ากระแส
สนามไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าในตัวนำ
กฎของโอห์ม
ความต้านทาน
สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า
ไดโอด
วงจรไฟฟ้า
การวิเคราะห์วงจร
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
การคำนวณค่าไฟฟ้า เครื่องหมายบนเครื่องใช้ไฟฟ้าและ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




ไดโอด

6/03/2014 16:11 เมื่อ 6/03/2014 อ่าน 286 | ตอบ 0
ไดโอด
 ไดโอด   เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วๆ ไป      ที่จำกัดทิศทางการไหลของประจุไฟฟ้า
มันจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลในทิศทางเดียว   และกั้นการไหลในทิศทางตรงกันข้าม    ดังนั้นจึงอาจถือว่าไดโอด
เป็นวาล์วตรวจสอบแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ซึ่งนับเป็นประโยชน์อย่างมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์  เช่น ใช้เป็น
อุปกรณ์กรองแรงดันไฟฟ้าในวงจรภาคจ่ายไฟ  เป็นต้น


 ไดโอดตัวแรก   เป็นอุปกรณ์หลอดสุญญากาศ  (vacuum  tube  หรือ  valves)  แต่ทุกวันนี้ไดโอดที่ใช้ทั่วไป
ส่วนใหญ่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำ   สารกึ่งตัวนำ   เป็นสารที่มีคุณสมบัติระหว่างตัวนำและฉนวน  เช่น   ซิลิกอน   หรือ
เจอร์เมเนียม  
โดยที่อุณหภูมิต่ำ  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนค่อนข้างมาก จึงไม่มีอิเล็กตรอนอิสระ

 ไดโอด   เป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ  p-n   สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได้
ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด p และ แคโทด 
(Cathode; K)  ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด n
 

 

     ชนิดของสารกึ่งตัวนำ  เนื่องจากสารกึ่งตัวนำที่บริสุทธิ์  จะมีอิเล็กตรอนอิสระน้อย กระแสไฟฟ้าที่ผ่านจึงมีน้อยถ้าต้องการให้มีกระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมาก   ต้องทำการเจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในสารเหล่านั้น   เรียกว่าสารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ นอกจากนี้ยังมีสารกึ่งตัวนำแบบสารประกอบ

     
สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์  แบ่งออกเป็น  2  ประเภท

     
1.  สารกึ่งตัวนำประเภท  N - type    เป็นสารกึ่งตัวนำ     ที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของ
สารหนู
        ทำให้มีอิเล็กตรอนอิสระขึ้นมาหนึ่งตัว      ซึ่งสามารถเคลื่อนที่ในผลึก     จึงยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลได้
 เช่นเดียวกับตัวนำทั่วๆ ไป
     
2.  สารกึ่งตัวนำประเภท  P - type     เป็นสารกึ่งตัวนำ   ที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของ
อะลูมิเนียม
  
  ทำให้เกิดที่ว่างเรียกว่า  Hole  ขึ้น  อิเล็กตรอนที่อยู่ข้าง  Hole จะเคลื่อนที่ไปอยู่ใน Hole ทำให้ดูคล้ายว่า  Hole  เคลื่อนที่ได้ในทิศทางตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน  จึงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :