สถิติ
เปิดเมื่อ19/02/2014
อัพเดท6/03/2014
ผู้เข้าชม54819
แสดงหน้า63559
บทความ
ไฟฟ้าสถิต
อิเล็กโตรสโคป
ไฟฟ้าสถิต และการเกิดไฟฟ้าสถิต
ชนิดของประจุไฟฟ้า แรงกระทำที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า
การส่งผ่านประจุฟฟ้า
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า
การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้า
อิเล็กโทรสโคป (electroscope)
สนามไฟฟ้า (electric field)
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
ศักย์ไฟฟ้า
พลังงานศักย์ไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ
การใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
ไฟฟ้ากระแส
สนามไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าในตัวนำ
กฎของโอห์ม
ความต้านทาน
สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า
ไดโอด
วงจรไฟฟ้า
การวิเคราะห์วงจร
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
การคำนวณค่าไฟฟ้า เครื่องหมายบนเครื่องใช้ไฟฟ้าและ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า

6/03/2014 16:11 เมื่อ 6/03/2014 อ่าน 1167 | ตอบ 1
ลังงานไฟฟ้า

          เมื่อต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า  ประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่   ทำให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า   พลังงานไฟฟ้าจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า     เช่น   เมื่อต่อหลอดไฟกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า    จะได้พลังงานแสงสว่าง    ถ้าต่อเตาไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า  จะได้พลังงานความร้อน    ถ้าต่อ
แหล่งกำเนิดไฟฟ้าเข้ากับเครื่องซักผ้า  พัดลม
  และสว่านไฟฟ้า   ก็จะได้พลังงานกล   เป็นต้น

กำลังไฟฟ้า

          กำลังไฟฟ้า  คือ  พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา  มีหน่วยเป็น  จูลต่อวินาทีหรือวัตต์  เขียนสมการ
ได้ดังนี้
 …

       เมื่อ...
                     P        =         กำลังไฟฟ้า         มีหน่วยเป็น
จูลต่อวินาทีหรือวัตต์
               
     
W        =        พลังงานไฟฟ้า    มีหน่วยเป็นจูล
                      t         =         เวลา                  มีหน่วยเป็นวินาที

พิจารณาวงจรไฟฟ้า

     
วงจรไฟฟ้า  ซึ่งประกอบด้วย  แหล่งจ่ายไฟฟ้า  (เซลล์ไฟฟ้า)  ต่อเข้ากับเครื่องใช้ไฟฟ้า  (ตัวต้านทาน)  ดังรูป
 

       จากวงจรไฟฟ้าที่กำหนดให้   เมื่อต่อวงจรครบวงจร   เซลล์ไฟฟ้าจะให้ประจุ +Q  คูลอมบ์  ในเวลา t  วินาที ประจุไฟฟ้า Q   เคลื่อนที่ไปได้      เนื่องจากพลังงานของเซลล์ไฟฟ้าที่ให้ออกมา   และขณะประจุ Q   เคลื่อนที่ผ่าน
ความต้านทาน (R)   ย่อมสูญเสียพลังงานไปส่วนหนึ่ง  แยกพิจารณาได้  ดังนี้

          1.   พลังงานไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
          2.   พลังงานไฟฟ้าที่สูญเสียให้แก่ตัวต้านทาน (เครื่องใช้ไฟฟ้า)
พลังงานไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า

          จากนิยามของแรงเคลื่อนไฟฟ้า

                    “แรงเคลื่อนไฟฟ้า (E) คือ พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุ +1 C ครบวงจรพอดี”

          ดังนั้น …

                    ในการเคลื่อนประจุ   +1  C   ครบวงจร    ต้องใช้พลังงาน  E
                    ถ้าเคลื่อนประจุ        +Q  C   ครบวงจร    ต้องใช้พลังงาน  QE

          เมื่อ …
                    WE       =     พลังงานไฟฟ้าที่เซลล์ไฟฟ้าจ่ายออกมา ... (J ; จูล)
                     Q         =     ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่  ... (C ; คูลอมบ์)
                     E         =     แรงเคลื่อนไฟฟ้า  ... (V ; โวลต์)
        จะได้ว่า ...  
                                       WE              =             QE
        จาก ….
                                         Q               =             It
        ดังนั้น ….
                                       WE              =             ItE
 
        ถ้าให้   PE   คือ  กำลังไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า
        จาก...
                            
        จะได้ ...
                                               
        หรือ ...
                               

 
ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง

Sue
 
Sue [68.202.141.xxx] เมื่อ 22/12/2019 01:40
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :